หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ (2560)

Doctor of Philosophy Program in Computer Engineering

ชื่อปริญญาและสาขาวิชา :
ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (วิศวกรรมคอมพิวเตอร์) : ปร.ด. (วิศวกรรมคอมพิวเตอร์)
Doctor of Philosophy (Computer Engineering) : Ph.D. (Computer Engineering)

 

โครงสร้างหลักสูตร
จำนวนหน่วยกิต
แบบ 1.1 แบบ 1.2 แบบ 2.1 แบบ 2.2
1) หมวดวิชาบังคับ
1.1 วิชาบังคับ (ไม่นับหน่วยกิต) 9 12 3 3
1.2 วิชาบังคับ (นับหน่วยกิต) 9 9
2) หมวดวิชาเลือก 3 15
3) ดุษฎีนิพนธ์ 48 72 36 48
จำนวนหน่วยกิตรวมตลอดหลักสูตร 48 72 48 72

 

รายวิชา

1. หมวดวิชาบังคับ

(1) หมวดวิชาบังคับ (ไม่นับหน่วยกิต)

– นักศึกษาแบบ 1.1 ต้องลงทะเบียนเรียนรายวิชาต่อไปนี้แบบไม่นับหน่วยกิต จำนวน 9 หน่วยกิต และต้องมีผลการศึกษาในระดับ S (Satisfactory)

EN007 000
3(3-0-6)
การนำงานวิจัยสู่ธุรกิจสำหรับการประกอบการด้านวิศวกรรม
Research to Business for Engineering Entrepreneurship
EN007 001
3(2-3-5)
ระเบียบวิธีวิจัยทางวิศวกรรมศาสตร์
Engineering Research Methodology
EN838 991
1(1-0-2)
สัมมนาดุษฎีนิพนธ์ 1
Dissertation Seminar I
EN838 992
1(1-0-2)
สัมมนาดุษฎีนิพนธ์ 2
Dissertation Seminar II
EN838 993
1(1-0-2)
สัมมนาดุษฎีนิพนธ์ 3
Dissertation Seminar III

 

– นักศึกษาแบบ 1.2 ต้องลงทะเบียนเรียนรายวิชาต่อไปนี้แบบไม่นับหน่วยกิต จำนวน 12 หน่วยกิต และต้องมีผลการศึกษาในระดับ S (Satisfactory)

EN007 000
3(3-0-6)
การนำงานวิจัยสู่ธุรกิจสำหรับการประกอบการด้านวิศวกรรม
Research to Business for Engineering Entrepreneurship
EN007 001
3(2-3-5)
ระเบียบวิธีวิจัยทางวิศวกรรมศาสตร์
Engineering Research Methodology
EN828 701
3(3-0-6)
สถิติและจำลองแบบ
Statistics and Modeling
EN838 991
1(1-0-2)
สัมมนาดุษฎีนิพนธ์ 1
Dissertation Seminar I
EN838 992
1(1-0-2)
สัมมนาดุษฎีนิพนธ์ 2
Dissertation Seminar II
EN838 993
1(1-0-2)
สัมมนาดุษฎีนิพนธ์ 3
Dissertation Seminar III

 
– นักศึกษาแบบ 2.1 และ 2.2 ต้องลงทะเบียนเรียนรายวิชาต่อไปนี้แบบไม่นับหน่วยกิต จำนวน 3 หน่วยกิต และต้องมีผลการศึกษาในระดับ S (Satisfactory)

EN007 000
3(3-0-6)
การนำงานวิจัยสู่ธุรกิจสำหรับการประกอบการด้านวิศวกรรม
Research to Business for Engineering Entrepreneurship

(2) หมวดวิชาบังคับ (นับหน่วยกิต)

นักศึกษาแบบ 2.1 และ 2.2 ต้องลงทะเบียนเรียนรายวิชาต่อไปนี้ จำนวน 9 หน่วยกิต ดังนี้

EN007 001
3(2-3-5)
ระเบียบวิธีวิจัยทางวิศวกรรมศาสตร์
Engineering Research Methodology
EN828 701
3(3-0-6)
สถิติและจำลองแบบ
Statistics and Modeling
EN838 991
1(1-0-2)
สัมมนาดุษฎีนิพนธ์ 1
Dissertation Seminar I
EN838 992
1(1-0-2)
สัมมนาดุษฎีนิพนธ์ 2
Dissertation Seminar II
EN838 993
1(1-0-2)
สัมมนาดุษฎีนิพนธ์ 3
Dissertation Seminar III

 

2. หมวดวิชาเลือก

นักศึกษาแบบ 2.1 และ 2.2 ให้นักศึกษาเลือกลงทะเบียนและสอบผ่านรายวิชาต่อไปนี้ โดยนักศึกษา
แบบ 2.1 จำนวนไม่น้อยกว่า 3 หน่วยกิต
แบบ 2.2 จำนวนไม่น้อยกว่า 15 หน่วยกิต หรือรายวิชาอื่นๆ ที่เปิดเพิ่มเติมภายหลัง
ทั้งนี้ต้องไม่ลงทะเบียนเรียนในรายวิชาที่เคยศึกษามาแล้วในระดับปริญญาโท โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการบริหารหลักสูตร

EN828 711
3(3-0-6)
ปัญญาเชิงคำนวณ
Computational Intelligence
EN828 712
3(3-0-6)
การรู้จำรูปแบบและการตรวจหาวัตถุ
Pattern Recognition and Object Detection
EN828 713
3(3-0-6)
การวิเคราะห์ขั้นสูง
Advanced Analytics
EN828 714
3(3-0-6)
การหาค่าเหมาะสมที่สุดเชิงคอนเวกซ์
Convex Optimization
EN828 721
3(3-0-6)
สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์ขั้นสูง
Advanced Computer Architecture
EN828 731
3(3-0-6)
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ขั้นสูง
Advanced Computer Networks
EN828 732
3(3-0-6)
อินเทอร์เน็ตของสรรพสิ่งขั้นสูง
Advanced Internet of Things
EN828 741
3(3-0-6)
การประมวลผลภาพดิจิทัลขั้นสูง
Advanced Digital Image Processing
EN828 742
3(3-0-6)
การมองเห็นของเครื่องจักรเชิงสามมิติ
Three-dimensional Machine Vision
EN828 761
3(3-0-6)
อิเล็กทรอนิกส์เชิงกลระดับจุลภาค
Micromechatronics
EN828 762
3(3-0-6)
นาโนอิเล็กทรอนิกส์ขั้นสูง
Advanced Nanoelectronics
EN828 763
3(3-0-6)
อุปกรณ์และเซนเซอร์ทางชีวการแพทย์
Biomedical Devices and Sensors
EN828 771
3(3-0-6)
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์เพื่อการศึกษาในปัจจุบัน
Current Computer’s Technology in Education
EN828 893
3(3-0-6)
หัวข้อพิเศษทางวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ 1
Special Topics in Computer Engineering I
EN828 894
3(3-0-6)
หัวข้อพิเศษทางวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ 2
Special Topics in Computer Engineering II
EN828 895
3(3-0-6)
หัวข้อพิเศษทางวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ 3
Special Topics in Computer Engineering III
EN828 896
3(3-0-6)
หัวข้อพิเศษทางวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ 4
Special Topics in Computer Engineering IV

 

3. ดุษฎีนิพนธ์

เป็นการมุ่งให้นักศึกษา ทำงานวิจัยในหัวข้อที่แต่ละคนสนใจ เพื่อให้เกิดทักษะเพิ่มพูนความรู้ และ ประสบการณ์ ในการศึกษาวิจัย
ในสาขาวิชา วิศวกรรมคอมพิวเตอร์ ตามเกณฑ์มาตรฐาน หลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา นักศึกษาจะต้องลงทะเบียนเรียน รายวิชาดุษฎีนิพนธ์

EN838 996
72 หน่วยกิต
ดุษฎีนิพนธ์ (แบบ 1.2)
Dissertation
EN838 997
48 หน่วยกิต
ดุษฎีนิพนธ์ (แบบ 1.1)
Dissertation
EN838 998
48 หน่วยกิต
ดุษฎีนิพนธ์ (แบบ 2.2)
Dissertation
EN838 999
36 หน่วยกิต
ดุษฎีนิพนธ์ (แบบ 2.1)
Dissertation